น.ส.วรรณภรณ์ ปิยะอรุณ ม.4/4 เลขที่ 4 โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม

วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์



































ที่มา http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1493

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


 











ที่มา http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1491


ฟังก์ชันกำลังสอง

                  ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป   y = ax2 + bx + c เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ a , b  และ   และเมื่อค่าของ   เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ



จากรูปจะเห็นว่า  ถ้า  a > 0  กราฟเป็นเส้นโค้งหงายขึ้น

                                       a < 0  กราฟเป็นเส้นโค้งคว่ำลง

 กราฟของฟังก์ชันกำลังสองในรูปนี้มีชื่อว่า  

พาราโบลา

ในกรณีทั่วไป  กราฟของ    y = a(x-h)2 + k  ,  0  จะมีจุดที่กราฟวกกลับดังนี้



                 f(x) = a(x-h)2 + k , > 0  











จากรูปกราฟของ   มีจุดวกกลับที่จุด  (h,k)  ซึ่งเป็นจุดที่  f(x)  มีค่าต่ำสุด  และ  f(h)  =  k  เป็นค่าต่ำสุดของ  f




         f(x) = a(x-h)2 + k , < 0  








จากรูปกราฟของ   มีจุดวกกลับที่จุด  (h,k)  ซึ่งเป็นจุดที่  f(x)  มีค่าสูงสุด  และ  f(h)  =  k  เป็นค่าสูงสุดของ  f











ฟังก์ชันเชิงเส้น

ฟังก์ชันเชิงเส้น   คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ  กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง

ตัวอย่างของฟังก์ชันเชิงเส้น   ได้แก่
           1)   y = x  



2)   y =2x +1



3)   y = -3x




ฟังก์ชัน  y  =  ax + b  เมื่อ    a  =  0  จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  y  =  b  ซึ่งมีชื่อเรียกว่า  ฟังก์ชันคงตัว (constant  function)  กราฟของฟังก์ชันคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน  X   ตัวอย่างของฟังก์ชันคงตัว  ได้แก่

y1 = 5
y2 = -5 


วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว


การแก้สมการ คือ การหาค่าของตัวแปรในสมการที่ทำให้สมการเป็นจริงโดยอาศัยสมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง ดังนี้
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ สมการที่มีตัวแปรเพียงตัวเดียว และเลขขี้กำลังของตัวแปรเป็น 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะสามารถเขียนให้อยู่ในรูปอย่างง่าย ดังนี้
ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัว และ ไม่เท่ากับ 0 เช่น
2x+3 = 0
2a+1 = 0